ข้อเสื่อม โรคข้อเสื่อม ปวดข้อ ปวดกระดูก ปวดเข่า
ข้อเสื่อม คงไม่มีมนุษย์คนใดอยากเป็น โรคกระดูก ประเภทนี้อย่างแน่นอน ข้อเสื่อม ทำให้การใช้ชีวิตประจำวันไม่ได้รับความสะดวกสบายเลย เดิน หรือทำกิจกรรมที่เราต้องทำก็ไม่สะดวก เนื่องจากคนที่เป็นเกี่ยวกับ ข้อเสื่อม มักจะเจ็บปวด ทั้งนี้เกี่ยวกับอาการของ โรคข้อเสื่อม จะเป็นผลมาจากวัยและการใช้งาน แต่ก็ใช่ว่าจะไม่มีทางหลีกเลี่ยงเสียทีเดียว ทั้งนี้เกี่ยวกับ ข้อเสื่อม เรามีข้อแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านและผู้ที่ให้ความสนใจสุขภาพโดยเฉพาะเกี่ยวกับ โรคกระดูก เช่น ข้อเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม หลายประการที่จะช่วยให้คุณเคลื่อนไหวได้อย่างไร้กังวลแม้อายุจะเพิ่มมากขึ้นก็ตาม เพื่อให้คุณสามารถใช้ชีวิตประจำได้อย่างปกติสุข เรามาศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ข้อเสื่อม กันต่อไปดีกว่า
ในวันโรคข้อสากล เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2553 ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขแจ้งตัวเลขที่น่าตกใจว่า ปัจจุบันมีคนไทยเป็น โรคข้อเสื่อม กระดูกพรุน มากถึง 7 ล้านคน โดยมักพบในผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปและผู้สูงอายุ ที่สำคัญ จำนวนตัวเลขดังกล่าวมีแต่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากจำนวนผู้สูงอายุที่มีมากขึ้นนั่นเอง ปัจจุบันมนุษย์เราให้ความสนใจเรื่อง สุขภาพ กันมากขึ้น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สุขภาพ มีจำหน่ายหลากหลายยี่ห้อรวมทั้งผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ โรคกระดูก ข้อเสื่อม ก็มีให้ซื้อหากัน เช่นกัน ทั้งนี้ โรคกระดูก เกี่ยวกับ ข้อเสื่อม เป็นอาการที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของ กระดูก อ่อนที่ฉาบผิว กระดูก ข้อต่อ ไว้ไม่ให้มีการเสียดสีกันเมื่อเคลื่อนไหว ซึ่งเมื่อเราเคลื่อนไหวร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นการลุก นั่ง ยืน หรือเดิน ข้อต่อ จะทำงานสอดประสานกันอย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อ กระดูก อ่อนผุพังหรือบางลง กระดูก ข้อต่อ ก็จะเสียดสีกันจนเป็นผลให้เกิดการอักเสบ จึงทำให้ผู้ป่วยเกี่ยวกับ โรคกระดูก ข้อเสื่อม มีอาการเจ็บป่วย เช่น เวลาเรานั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น จะไม่สามารถเคลื่อนไหว หรือ เดินได้ทันที ต้องรอแป๊บหนึ่งจึงจะทำกิจกรรมที่ตนเองพึงกระทำได้ปกติ ดังนั้นควรดูแลสุขภาพให้ดีที่สุดอย่าให้เป็นผู้ป่วย ข้อเสื่อม ซึ่งเป็น โรคกระดูก ที่สร้างความจำปวดให้แก่ผู้ป่วย ข้อเสื่อม เป็นอย่างมาก ทั้งนี้ผู้ป่วย โรคกระดูก ข้อเสื่อม จะรู้สึกเจ็บปวดบริเวณข้อต่อจนไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตามปกติ และส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมาก ทั้งนี้ จากคำแนะนำของ นพ. สิทธิพร อรพินท์ ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกระดูกและข้อ ทำให้เราพบว่า การหลีกเลี่ยงอาการ ปวดข้อ นั้นไม่ใช่เรื่องยากเลย หากคุณดูแลร่างกายเป็นอย่างดี และนี่คือ 4 วิธี ที่จะช่วยให้คุณห่างไกลจาก โรคข้อเสื่อม โรคกระดูก ที่ใครๆ ก็ไม่อยากเป็น
การดูแลสุขภาพที่ดีที่สุด เสมือนเป็นยาวิเศษนั่นก็คือการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและการ ควบคุมน้ำหนัก จึงเป็นการทนุถนอม ข้อกระดูก ทางหนึ่ง โดยเฉพาะการ ออกกำลังกาย แบบแอโรบิคที่ช่วยเผาผลาญพลังงานได้เป็นอย่างดี แต่หากผู้ป่วยกังวล ว่า การออกกำลังกาย จะเป็นอันตรายต่อ ข้อกระดูก ก็ควรเลือกประเภทของ การออกกำลังกาย ที่ข้อไม่ต้องแบกรับภาระมากนัก เช่น ว่ายน้ำ การเดินในน้ำ เดิน หรือปั่นจักรยาน (ไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง) หรืออาจจะเลือกวิธี เดินช้าๆ ก่อน แนะนำให้ไปเดินออกกำลังกายตามสวนสาธารณะ เนื่องจากสวนสาธารณะอากาศจะดี มีต้นไม้ มีผู้คนที่รักสุขภาพมา ออกกำลังกาย กันเยอะแยะเสมือนว่าเราไม่ได้ ออกกำลังกายคนเดียวมีเพื่อนด้วย ทำให้ไม่รู้สึกเบื่อหน่ายและอยากไปเดิน ออกกำลัง ทุกวัน นานๆเข้าก็จะทำให้รู้จักคนเยอะยิ่งขึ้น ก็จะถูกเพื่อนๆ ชักชวนให้ไป ออกกำลังกาย เป็นประจำทุกวัน ก็จะมีผลทำให้ร่างกายแข็งแรง ซึ่งการออกกำลังกาย ช่วย ลดน้ำหนัก หรือ ลดความอ้วน ได้ดี ผลก็คือผู้ป่วย โรคข้อเสื่อม ก็จะดีเรื่อยๆ ข้อเสื่อม ที่เป็นปัญหามาช้านานก็จะได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้น
2. ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ
การนั่งอยู่กับที่เป็นเวลานาน เช่น นั่งหลังงอและก้มคอทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันหลายชั่วโมงก็เป็นผลเสียต่อ ข้อต่อ บริเวณคอ และ กระดูกสันหลังส่วนเอวเช่นกัน ควรนั่งให้ถูกต้องโดยการนั่งพิงพนักเก้าอี้ และไม่ควรก้มคอนาน ๆ นอกจากนั้นทางที่ดี ควรหาโอกาสขยับตัว โดยลุกขึ้นมาเดินบ้าง ยืดแขนยืดขาบ้างเพื่อเป็นการบริหาร ข้อต่อ ซึ่งก็หมายความว่าควรให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหว ควรปรับเปลี่ยนอิริยาบถบ้าง หากจะให้ดีหลังจากเลิกงานควร ออกกำลังกาย ทุกวันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิด ข้อเสื่อม ซึ่งเป็น โรคกระดูก ที่ไม่มีใครอยากเป็นแน่ๆ คุณรักสุขภาพ คุณต้องออกกำลังกายทุกวัน เรื่อง โรคกระดูก ข้อเสื่อม ก็จะห่างจากตัวคุณด้วย
3. เสริมสร้างกล้ามเนื้อ
ซึ่งการป้องกันโรค ข้อเสื่อม จากการออกกำลังกายสามารถทำได้โดยการเสริมสร้างกล้ามเนื้อ เพราะกล้ามเนื้อเป็นส่วนสำคัญในการแบ่งเบาภาระต่าง ๆ ของ ข้อต่อ เมื่อร่างกายเคลื่อนไหวรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบริเวณเอ็น ข้อต่อ ซึ่งเป็นจุดสำคัญของการออกกำลังแทบทุกประเภท นอกจากนี้ การมีกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลังที่ดีจะทำให้หมอนรองกระดูกสันหลังรับภาระน้อยลง ซึ่งลดความเสี่ยงต่อความเสื่อมได้มาก อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะเริ่มฝึกกล้ามเนื้อใด ๆ ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อไม่ให้การ ฝึกฝนนั้นไปสร้างภาระให้กับ ข้อกระดูก
4. อาหารและยา ในการรับประทานยาจำพวก กลูโคซามีน และคอนโดรอิทีน ซึ่งเชื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างน้ำไขข้อและ กระดูก อ่อนเคลือบผิวข้อได้ แต่ไม่ยืนยันว่าได้ประโยชน์มากเท่าใด ทั้งนี้ต้องใช้ในกรณีที่ ข้อเสื่อม อยู่ในระยะแรกๆ เท่านั้น ในส่วนของยานั้น นพ. สิทธิพร แนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาบางชนิดบ่อยเกินความจำเป็น เพราะอาจมีผลต่อข้อกระดูก “สเตียรอยด์แบบฉีดเพื่อลดการอักเสบของข้อนั้น ถ้าใช้บ่อย ๆ ก็ทำให้ข้อเสียได้ แต่ถ้าเป็นสเตียรอยด์แบบรับประทานก็จะไม่มีผลต่อข้อ แต่มีผลต่อ กระดูกโดยรวมเพราะจะทำให้ กระดูก บางลง” โรค ข้อเสื่อม เป็น โรคข้ออักเสบ ที่พบได้บ่อยที่สุด และยากที่จะรักษาให้หายขาดหรือกลับคืนสู่สภาพปกติ ดังนั้นการรักษาข้อให้อยู่ในสภาพดีจึงจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นหลักประกันว่า ในวันข้างหน้าคุณจะยังคงมีคุณภาพชีวิตที่ดีเช่นเดียวกับวันนี้ เมื่อเกิดอาการ ข้อเสื่อม ขึ้นแล้ว ความเจ็บปวดบริเวณข้อจะส่งผลอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ดังนั้น การมาพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยความรุนแรงของโรคและหาแนวทางในการป้องกันและรักษาตามอาการจึงเป็นสิ่งจำเป็นเป็นอย่างยิ่ง แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ ทันสมัยเป็นอย่างมาก จึงมีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ดูแลเกี่ยวกับ โรคกระดูก ข้อเสื่อม ให้เลือกซื้อหากันจำนวนมาก ซึ่งหากเป็นไปได้ผู้เขียนแนะนำให้ทานอาหารเสริมซึ่งในความคิดเห็นส่วนตัวและจากประสบการณ์จริงของผู้เขียนนั้น แม่ของผู้เขียนเองประสบปัญหาเรื่อง ข้อเสื่อม ซึ่งเป็น โรคกระดูก ที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุดั่งแม่ผู้เขียน หลังจากที่คุณแม่ของผู้เขียนทานอาหารเสริมแล้ว โรคกระดูก เกี่ยวกับ ข้อเสื่อม ที่ทำให้คุณแม่ประสบปัญหาในการดำรงชีวิตประจำวัน ปัจจุบันคุณแม่เดินไปไหนมาไหนได้อย่างคล่องแคล่ว ชีวิตสบายๆ กว่าเดิมมาก ข้อเสื่อม ที่เป็นปัญหาไม่รู้หายหรือเปล่า แต่ที่แน่ๆความเจ็บปวดที่คุณแม่เป็น เหมือนกับว่าหายเพราะคุณแม่ไม่เจ็บปวดจากอาการของ ข้อเสื่อม อีกเลย
การวินิจฉัย
นพ. สิทธิพร เล่าถึงการวินิจฉัยว่า จะเริ่มจากการ ซักประวัติ และสอบถามอาการของผู้ป่วยก่อน เช่นเวลาที่เกิดอาการปวด เพราะโดยทั่วไป การปวดข้ออักเสบมักปวดในช่วงเช้า ขณะที่ โรคข้อเสื่อม ผู้ป่วยจะปวดเมื่อต้องใช้งานบริเวณ ข้อต่อ นั้น ๆ ว่า "ตามพื้นฐานของแพทย์แล้วเราจะตรวจด้วยการดู คลำ เคาะ ฟัง การดู คือ ดูว่ามีการบวมหรือไม่ ซึ่งทราบได้จากการที่ข้อไม่สามารถเหยียดงอได้ตามปกติจากการตึงและจะรู้สึกอุ่นบริเวณที่บวม ถึงตอนนี้แพทย์จะคลำส่วนของข้อเพื่อเปรียบเทียบอุณหภูมิกับอีกข้างหนึ่ง ซึ่งถ้ามีอาการก็จะรู้สึกได้เลยว่าข้างหนึ่งร้อน อีกข้างหนึ่งเย็น ทำให้เราทราบความผิดปกติได้ก่อนที่เครื่องเอ็กซ์เรย์จะตรวจพบเสียอีก” นพ. สิทธิพรอธิบาย
การรักษาเบื้องต้น สำหรับในกรณีที่อาการปวดไม่รุนแรง แพทย์จะแนะนำให้ผู้ป่วยลดกิจกรรมในชีวิตประจำวันลง พักผ่อนให้มาก ใช้ข้ออย่างระมัดระวัง และรับประทานยาตามกำหนด ร่วมกับการประคบอุ่น ประคบร้อน นอกจากนี้อาจใช้ยาระงับปวดอย่างพาราเซตามอลหรือยาบำรุง กระดูกอ่อน เช่น กลูโคซามีน และคอนโดรอิทีน ร่วมด้วย หากไม่ได้ผลแพทย์อาจสั่งยาแก้อักเสบแบบไม่มีสเตียรอยด์ เช่น แอสไพริน หรือไอบูโปรเฟน แต่แพทย์จะไม่แนะนำให้รับประทานยาแก้อักเสบเป็นระยะเวลานาน ๆ เพราะอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงอย่างแผลในกระเพาะอาหาร หรืออาจมีปัญหาต่อการทำงานของไต
การรักษาเมื่อมีอาการมาก ในการรักษาหากผู้ป่วยมีอาการ ข้อเสื่อม อย่างรุนแรง แพทย์อาจแนะนำให้รักษา ข้อเข่าเสื่อม โดยการผ่าตัด ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน อาทิ - การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องข้อ เป็นการผ่าตัดแบบแผลเล็กโดยใช้กล้องขนาดเล็กเข้าไปตรวจสอบพยาธิสภาพของความผิดปกติบริเวณข้อได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับการผ่าตัดเปิดข้อแบบปกติ บางกรณี แพทย์จะสามารถทำการรักษาความผิดปกติทันที อาทิ ตัดแต่งผิวข้อต่อที่เสื่อม หรือฉีกขาด หยิบเศษกระดูกที่อาจจะลอยอยู่ในข้อ ออกจากบริเวณข้อ - การผ่าตัดเชื่อมกระดูก เป็นการเชื่อมกระดูกสองท่อนให้เป็นชิ้นเดียวกันเพื่อไม่ให้เกิดการเสียดสี ใช้กับข้อเล็ก ๆ ที่ไม่มีผลต่อการใช้งานมากนัก -การผ่าตัดเปลี่ยนแนวกระดูก ตัวอย่างเช่น การตัดแต่งแนวกระดูกให้ตรงและอยู่ในแนวใกล้เคียงปกติทำให้สามารถกระจายแรงได้ดีขึ้นเพื่อลดความเจ็บปวดของผู้ป่วย และอาจช่วยไม่ให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมเร็วกว่ากำหนด - การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม เป็นการใส่วัสดุทดแทนข้อที่เสื่อมสภาพซึ่งเป็นวิธีที่แพทย์จะเลือกใช้เป็นวิธีสุดท้าย เฉพาะในกรณีที่ข้อถูกทำลายอย่างมากแล้วเท่านั้น
ข้อเสื่อม ป้องกันได้
โรคข้อเสื่อม หากคุณไม่ปล่อยเนื้อปล่อยตัวใช้ชีวิตลั่นลาจนเกินไป พยายามรักษาสุขภาพให้ดีที่สุดปัญหาเรื่อง โรคกระดูก เกี่ยวกับ ข้อเสื่อม ก็จะไม่เป็นปัญหาสำหรับคุณอย่างแน่นอน ระมัดระวังเรื่องอาหารการกินในแต่ละวัน ใส่ใจบ้าง ไม่ใชอยากกินอะไรก็กิน กินซะพุงกาง อย่าทำแบบนั้นเลยเป็นการทำลายสุขภาพตัวเองชัดๆ อาหารการกินควรบริโภคอาหารประเภท พืช ผัก ผลไม้ หรืออาหารประเภทที่มีเส้นใยเยอะๆ โดยเฉพาะคนที่มีอายุมากขึ้น ระบบการเผาผลาญต่างๆ ก็จะเสื่อมสภาพตามร่างกายที่เป็นอยู่ ยิ่งหากมีอายุมากยิ่งขึ้นระบบการเผาผลาญต่างๆ ย่อมเสื่อมลงเรื่อยๆ ดังนั้นควรอย่างยิ่งต้องทาน พืช ผัก ผลไม้ ให้เยอะที่สุด อาหารที่มีเส้นใยสูงจะช่วยในเรื่องระบบการย่อยง่ายยิ่งขึ้น ช่วยให้ระบบขับถ่ายดีด้วย เหมือนเป็นการ ดีท็อก ลำไส้ให้สะอาดอีกด้วย มิหนำซ้ำอาหารประเภทที่มีเส้นใยอาหารสูง ช่วยในเรื่องการ ควบคุมน้ำหนัก หรือแม้แต่การ ลดน้ำหนัก หรือ ลดความอ้วน ก็ทำได้อย่างมีประสิทธิผลด้วย ส่วนอาหารประเภทเนื้อสัตว์ แนะนำให้ทานเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ และสุดท้ายสิ่งที่สำคัญมากๆ คือ ต้องพยายามฝึกตนเองให้เป็นคนที่ชอบออกกำลังกาย ซึ่งจะมีผลทำให้ โรคกระดูก หรือ ข้อเสื่อม ได้รับการดูแลอีกด้วย ดังนั้น รักสุขภาพต้อง ออกกำลังกาย โรคข้อเสื่อม ก็จะได้รับการดูแลแบบธรรมชาติด้วยตัวของคุณเอง ทำให้คุณห่างไกลจาก ข้อเสื่อม นั่นเอง
Credit: Bumrungrad International hospital
แนะนำ ผลิตภัณฑ์ ดูแล โรคกระดูก โรคข้อเสื่อม โรคข้อเข่าเสื่อม ชื่อ OSTO เป็นผลิตภัณฑ์ที่ดูแล กระดูก โดยเฉพาะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ดีมาก ใช้แล้วเห็นผลลัพธ์ดีจริง (กรุณาคลิก ตรงรูปสินค้า
Comments