top of page
ค้นหา
  • รูปภาพนักเขียน

โรคกระดูก ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ปวดกระดูก ภัยร้ายใกล้ตัวคุณ

โรคกระดูกพรุน ไม่ใช่เป็นปุ๊บปั๊บ กระดูกพรุน จะเป็นลักษณะของโรคที่เกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป เปรียบเทียบให้เห็นกันง่ายๆ แบบเห็นภาพกันเลยดีกว่า คุณผู้อ่านคงเห็นต้นไม้แก่ๆ หรือต้นไม้ที่มีอายุมากๆ กิ่งไม้แก่ๆ ก็จะหักง่าย แต่หากเป็นต้นไม้ที่ยังไม่แก่มากนัก กิ่งไม้ก็จะไม่หักง่าย เช่นเดียวกับคนเราเด็กๆ วัยสะรุ่นกำลังห้าวหาญทุกอย่างดูดีไปหมดอะไรก็ดูแข็งแรง แต่คนแก่หรือสูงอายุก็จะทำอะไรช้าๆ ไม่คล่องแคล่วก็เพราะทุกอย่างเสื่อมถอยนั่นเอง กระดูกก็เสริมลงไปด้วย กล่าวอีกก็คือ กระดูกพรุน นั่นเอง กระดูกพรุน ทำให้มีการสูญเสียเนื้อ กระดูก มีการทำลายเนื้อเยื่อ กระดูก กรุดูกพรุน ทำให้กระดูกเปราะบาง แตกหักได้ง่าย เสี่ยงต่อการเกิด กระดูก บริเวณข้อหัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระดูกข้อสะโพก กระดูกสันหลัง กระดูกแขนขา รวมทั้ง กระดูกข้อมือ หาก กระดูก หักคงไม่ใช่เรื่องสนุกแน่ๆ อาการเจ็บปวดมีอย่างแน่นอน ทั้งนี้อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีการเสียชีวิตเกิดขึ้น ดังนั้นเรื่อง กระดูกพรุน เป็นเรื่องสำคัญอย่างมาก ต้องดูแลสุขภาพให้ดีที่สุด

เรื่องของ โรคกระดูกพรุน คนที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการเกิด กระดูกพรุน นั้นแตกต่างกันไปสุดแท้แต่ว่าใครใช้ชีวิตเป็นอย่างไร เช่น พนักงานทำงานออฟฟิศนั่งอยู่กับโต๊ะนานๆ ไม่ค่อยลุกเดินไม่ค่อยได้ขยับเขยื้อนของร่างกาย บางรายชาดวิตามินดี แคลเซี่ยม แมกนีเซี่ยม แต่ชอบรับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ มีโอกาสเป็น โรคกระดูกพรุน แน่นอน หรือแม้แต่คนที่ชอบดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เป็นประจำก็มีสิทธิ์เป็นโรค กระดูกพรุน ส่วนคนที่ทานยาแผนปัจจุบันบางชนิดอาจสงผลต่อการเกิดโรคนี้ง่ายขึ้น เช่นยาจำพวก ไทรอยด์ ฮอร์โมน อาจมีผลทำให้ร่างกายของคุณเป็นโรค กระดูกพรุน ดังนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ตนเองมีปัญหากับเรื่อง โรคกระดูกพรุน ควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด วัยที่เสี่ยงต่อการเป็น กระดูกพรุน จะพบมากในวัยสูงอายุ ซึ่งเขาเหล่านั้นจะไม่รู้ตัวเองว่าเป็น โรคกระดูกพรุน เนื่องจากอาการของโรค กระดูกพรุน มักจะไม่แสดงอาการให้ตนเองทราบเลย ตัวผู้ป่วยเองจะไม่รู้สึกว่ากระดูของตนเองถูกทำลายแบบค่อยเป็นค่อยไป ดังนั้นผู้ป่วย โรคกระดูกพรุน จึงไม่ทราบว่าตนเองเป็น กระดูกพรุน สำหรับอาการเริ่มแรกอาจมีการหักของ กระดูกสันหลัง หรือ กระดูกข้อสะโพก เมื่อตนเองหกล้มลง แต่สิ่งที่เราพบเห็นบ่อยๆ คือ พ่อแม่ของเราเอง ก่อนนั้นพ่อแม่เราจะมีรูปร่างที่สูง แต่พออายุท่านมากขึ้น พ่อแม่เรามักจะบ่น ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ ปวดกระดูก ให้เราได้ยินบ่อยๆ ส่วนสูงหากเราสังเกตุดูจะเห็นว่า พ่อแม่เราเตี้ยลงกว่าเดิมหากเปรียบเทียบกับเมื่อครั้งที่พ่อแม่เรายังมีสุขภาพแข็งแรง อายุยังไม่มากนัก การที่รูปร่างเตี้ยลง ปวดข้อ ปวดกระดูก ของวัยชรา นั่นคือ กระดูกพรุน แล้วล่ะ จร้า

โรคกระดูกพรุน มีอาการอย่างไร

โรคกระดูกพรุน ภาษาอังกฤษเรียกว่า osteoporosis (อ่านว่า ออส-ที-โอ-พอ-รอ-สิส) กระดูกพรุน เป็นโรคที่มีความผิดปกติของ กระดูก ที่เกิดเนื่องจากมีความไม่สมดุลในกระบวนการผลัดผิว กระดูก โดยเซลล์สลาย กระดูก ทำงานมากกว่าเซลล์สร้าง กระดูก ทำให้มวล กระดูก มีความหนาแน่นลดลง เนื้อ กระดูก บางลง มีความแข็งแรงน้อยลง และมีความเปราะเพิ่มขึ้น โรคนี้เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญในผู้สูงอายุ และเป็นภัยเงียบ เนื่องจากไม่มีอาการอะไร มีเพียงแต่เนื้อกระดูกบางลง มีความหนาแน่นน้อยลง ทั้งนี้ กว่าจะรู้ตัวว่าเป็น โรคกระดูกพรุน ก็เมื่อเกิดกระดูกหัก ซึ่งมักเกิดตามหลังอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม ตกบันได ตกจากเก้าอี้ นอกจากนี้ ผู้สูงอายุที่มีการไออย่างรุนแรงก็อาจทำให้กระดูกซี่โครงหักได้ ตำแหน่งของ กระดูก ที่มีการหักที่พบส่วนใหญ่จะเป็นที่ กระดูก ข้อมือ กระดูกสะโพก และ กระดูกสันหลัง อธิบายได้ว่า เมื่อหกล้ม คนเราก็จะเอามือยันพื้นไว้เพื่อประคองตัวเอง แต่ด้วยความที่เนื้อ กระดูกบางลง กระดูก ข้อมือจึงไม่สามารถรับน้ำหนักตัวได้เต็มที่เหมือนตอนหนุ่มสาว กระดูก ข้อมือจึงหัก เมื่อ กระดูก ข้อมือหักก็ใช้มือข้างนั้นหยิบจับอะไรไม่ได้ในระหว่างที่ต้องเข้าเฝือก หากมีก้นกระแทกพื้นเช่นในกรณีตกบันไดหรือตกจากเก้าอี้ ก็จะมี กระดูก สะโพกหัก ทำให้เดินไม่ได้ในระหว่างการรักษา บางรายอาจต้องเปลี่ยนข้อใส่ข้อเทียม ทำให้ต้องนอนติดเตียง ซึ่งอาจเกิดแผลกดทับหรือโรคอื่นๆ ตามมาได้หากไม่ได้รับการดูแลที่ดีพอ

โรคกระดูกพรุน มีวิธีการดูแลรักษาและป้องกันอย่างไรบ้าง กระดูกพรุน ไม่ใช่โรคที่ไม่มีวิธีป้องกันเอาซะเลย สิ่งแรกควรรับประทานอาการที่มีประโยชน์ต่อร่างกายโดยเฉพาะให้เน้นอาหารที่มีแคลเซี่ยม เพื่อเสริมสร้าง กระดูก ให้แข็งแรงอยู่เสมอ อาหารประเภท ผักใบเขียว ปลาตัวเล็กๆ รวมทั้งกินอาหารที่มีแคลเซี่ยมเสริม ควบคู่กับวิตามินดี ซึ่งมีความสำคัญในการช่วยดูดซึมแคลเซี่ยมเข้าสู่ร่างกายเพื่อนำเอาไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความทันสมัยกว่าเดิมมาก ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภท แคลเซี่ยม มีจำหน่ายมากมายหลายยี่ห้อ ที่จะช่วยให้ผู้ป่วย กระดูกพรุน สามารถนำเอาไปเสริมสร้างร่างกายได้ดี

OSTO " ออสโต้ "มีประโยชน์ต่อคุณอย่างไรบ้าง?          OSTO ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร หรือคนทั่วไปเรียก อาหารเสริม จากบริษัท มาสเตอร์พีช ไลฟ์ วิชั่น จำกัด ได้รับการยอมรับจากผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ตามที่ปรากฎตามVDO นั้น OSTO " ออสโต้ " มีคอลลาเจนเปปไทด์ไทพ์ทู และกระดูกอ่อนปลาฉลาม ซึ่งช่วยในการเสริมสร้างกระดูกอ่อนสำหรับหุ้มข้อกระดูกที่เสื่อมสภาพเมื่อคุณใช้ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ชื่อ OSTO จึงมีผลเกี่ยวกับยับยั้งเอนไซม์ที่สลายน้ำหล่อเลี้ยงข้อกระดูก ช่วยลดอาการ ปวดข้อ ที่ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งก่อนที่คุณจะใช้ OSTO "ออสโต้"ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดทรมานต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างยิ่ง แต่หลังจากคุณใช้ OSTO เพียง 1-3 กล่อง เท่านั้น อาการ ปวดข้อ ปวดกระดูก ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ลุกก็ปวด นั่งก็ปวด อากาต่างๆ เหล่านั้น จะเริ่มดีขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอาการและสภาพร่างกายของผู้ป่วยที่แตกต่างกัน นั่นเอง
OSTO " ออสโต้ "มีประโยชน์ต่อคุณอย่างไรบ้าง? OSTO ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร หรือคนทั่วไปเรียก อาหารเสริม จากบริษัท มาสเตอร์พีช ไลฟ์ วิชั่น จำกัด ได้รับการยอมรับจากผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ตามที่ปรากฎตามVDO นั้น OSTO " ออสโต้ " มีคอลลาเจนเปปไทด์ไทพ์ทู และกระดูกอ่อนปลาฉลาม ซึ่งช่วยในการเสริมสร้างกระดูกอ่อนสำหรับหุ้มข้อกระดูกที่เสื่อมสภาพเมื่อคุณใช้ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ชื่อ OSTO จึงมีผลเกี่ยวกับยับยั้งเอนไซม์ที่สลายน้ำหล่อเลี้ยงข้อกระดูก ช่วยลดอาการ ปวดข้อ ที่ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งก่อนที่คุณจะใช้ OSTO "ออสโต้"ผลิตภัณฑ์ บำรุงกระดูก ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดทรมานต่อการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างยิ่ง แต่หลังจากคุณใช้ OSTO เพียง 1-3 กล่อง เท่านั้น อาการ ปวดข้อ ปวดกระดูก ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ลุกก็ปวด นั่งก็ปวด อากาต่างๆ เหล่านั้น จะเริ่มดีขึ้นเป็นลำดับ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอาการและสภาพร่างกายของผู้ป่วยที่แตกต่างกัน นั่นเอง

แนะนำ ผลิตภัณฑ์ดูแล กระดูก เช่น โรคกระดูกพรุน โรคข้อเข่าเสื่อม ข้อเสื่อม ที่เกี่ยวกับ โรคกระดูก โดยเฉพาะ ใช้แล้วเห็นผลลัพธ์ดีจริง


ดู 3 ครั้ง0 ความคิดเห็น

Comentarios


bottom of page